ขอสอบถามครับ เราสามารถทำเรื่องเพื่อนำเงินของเราที่สะสมไว้ในกองทุนประกันสังคมออกมาใช้ในยามฉุกเฉินได้ไหมครับ
โพสต์ดีที่สุดที่ถูกสร้างโดย Aood_Warithpol
-
เงินประกันสังคม
-
RE: มี IC แล้ว อยากเป็น CFP ด้วย ควร waive ไปสอบเลย หรือควรเรียน CFP M2 ดี ?
@T_Anonymous ขอแชร์ความคิดเห็นของผมนะครับ ผมสนับสนุนให้อบรม M2 ครับ โดยส่วนตัวผมเอง ก็มี IC ที่สามารถ waive M2 ได้
แต่คิดว่าแม้ตนเองจะสามารถ waive ได้ แต่เมื่อดูเนื้อหาของ CFP M2 คิดว่าจะต้องใช้เวลาและความเข้าใจอย่างมากในการอ่านเนื้อหา M2 เพื่อเตรียมสอบดังนั้น จึงตัดสินใจอบรม M2 โดยไม่ waive โดยผมมีความคิดขณะนั้นว่า เสมือนหนึ่งว่าตนเองได้ลงติวเนื้อหาก่อนสอบ เมื่อคิดเช่นนี้ ก็ไม่ลังเลในการลงทะเบียนอบรมเลยครับ
-
RE: IC vs IP
@curious IC จะเป็นผู้แนะนำการลงทุนเบื้องต้นให้ลูกค้า โดยการให้คำแนะนำผลิตภัณฑ์การลงทุนจะสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของลูกค้า
แต่ IP การทำงานภาพรวมจะเหมือนกับ IC แต่จะครอบคลุมกว่า IC ในมุมที่จะสามารถขยายขอบเขตการทำงานไปจนถึงการจัดทำแผนการลงทุน ขยายความก็คือ IP จะเป็นผู้ที่ให้คำแนะนำการลงทุนแก่นักลงทุน และสามารถวางแผนประกอบการให้คำแนะนำการลงทุนแก่นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงได้
โดยการให้คำแนะนำจะสอดคล้องกับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และควรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การลงทุนของลูกค้าแต่ละรายด้วย ซึ่งการให้คำแนะนำนี้ก็อาจจะต้องมีการใช้ข้อมูลในเชิงลึกของลูกค้า เพื่อนำมาวิเคราะห์และออกแบบแผนการลงทุนให้เหมาะสมกับลูกค้าได้นั่นเองครับ -
RE: ถ้ามีบัตรเครดิตหลายใบควรบริหารจัดการยังไงให้ได้ประโยชน์มากที่สุดคะ และจ่ายบัตรขั้นต่ำทำให้มีประวัติเสียไหมคะ
@FernRenuka16 หากมีหลายใบ จนเริ่มสับสน อาจพิจารณาลดให้เหลือเฉพาะที่ได้มีโอกาสใช้จริงๆ โดยเลือกใช้บัตรที่เหมาะสมกับเรา
หากยังไม่แน่ใจว่าใบไหน อาจลองประเมินว่าเรามักใช้ซื้อสินค้าหรือหรือบริการใด ใช้เพื่อรับส่วนลด หรือสะสมแต้มไว้แลกส่วนลดหรือของแถม โดยปัจจุบันมีบัตรดครดิตที่มีสิทธิประโยชน์หลากหลาย จากหลายผู้ให้บริการครับ
ส่วนคำถามที่ว่าจ่ายขั้นต่ำทำให้ประวัติเสียไหม เท่าที่ผมทราบ โดยทั่วไปคือ ไม่ทำให้ประวัติเสียนะครับ เพราะมีการใช้จ่ายและชำระอย่างสม่ำเสมอ และอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ผู้ให้บริการกำหนด ส่วนจะเสียประวัติก็จะเป็นกรณีที่จ่ายช้าเกินกำหนด หรือค้างชำระเป็นเวลานาน แบบนี้ก็จะมีผลต่อประวัติการใช้จ่ายและชำระ แต่อย่างไรก็เช็คเงื่อนในแต่ละที่อีกครั้งครับ
-
การลงทุนในคริปโต
ผมเชื่อว่ายังมีนักลงทุนบางส่วน ซึ่งอาจเป็นสัดส่วนที่มาก ยังมีความลังเลในการลงทุนในคริปโต เพราะอาจจะยังไม่เข้าใจหรือยังกลัวเรื่องความเสี่ยง จึงอยากฟังความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ตัดสินลงทุนในคริปโต หรือนักลงทุนที่มีการลงทุนในคริปโตแล้ว ว่ามีหลักคิดอย่างไรในการตัดสินใจลงทุนในคริปโต เมื่อเทียบกับการเลือกลงทุนในสินทรัพย์การลงทุนแบบปกติครับ
-
RE: สัดส่วนการบริหารควรเป็นแบบไหน
@cecilice ขอเสริมข้อมูลนะครับ เห็นด้วยกับอาจารย์ทั้งสองท่านที่ให้แนวคิดการแบ่งเงินออมไว้ก่อนใช้ โดยกำหนดเป็นเปอร์เซนต์ เช่น 10% หรือ 25% ของรายได้
แต่ในบางสถานการณ์สำหรับบุคคลทั่วไป การออมตามสัดส่วนเป็น % ที่กำหนดไว้ อาจจะเป็นเงินที่เยอะ(สำหรับคนที่ยังไม่เคยเริ่มออมเลย) หากต้องอดทนเพื่อออมให้ได้ตามสัดส่วนที่กำหนด อาจทำให้ผู้ออมท้อ และล้มเลิกความตั้งใจในการออมไปได้ ท่ามกลางภาวะหนี้สินและรายได้ที่ไม่เป็นใจ ประกอบกับรายจ่ายที่อาจจะเพิ่มขึ้น เรียกง่ายๆว่าสภาพคล่องทางการเงินยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ
ดังนั้น ในช่วงแรกที่เรากำลังจะปรับเปลี่ยนให้ตัวเรามีพฤติกรรมการออมที่ดีขึ้น อาจเริ่มด้วยการแบ่งเงินออมไว้ ด้วยแนวคิดที่ว่า ออมไว้เท่าไรก็ได้ ขอให้มีการแบ่งไว้ออม ก็ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี แม้จะวันละ 5 บาท 10 บาท หรือเดือนละ 300 บาท เมื่อเวลาผ่านไป เงินออมที่ค่อยๆทะยอยออมและสะสมนี้ก็จะเริ่มมีมากขึ้น เมื่อสภาพคล่องทางการเงินดีขึ้น ประกอบกับความมีวินัยการออมที่ดีขึ้น จึงค่อยเพิ่มสัดส่วนการออมให้เป็นตามเกณฑ์ หรือมากกว่าเกณฑ์ได้
จึงอยากแชร์แนวคิดสำหรับคนที่อาจจะยังกลัวหรือกังวลกับการออม และมักคิดว่าตนเองจะทำไม่ได้ เพื่อให้เปิดใจและเริ่มต้นการออมได้ครับ
โพสต์ล่าสุดที่เขียนโดย Aood_Warithpol
-
การลงทุนในคริปโต
ผมเชื่อว่ายังมีนักลงทุนบางส่วน ซึ่งอาจเป็นสัดส่วนที่มาก ยังมีความลังเลในการลงทุนในคริปโต เพราะอาจจะยังไม่เข้าใจหรือยังกลัวเรื่องความเสี่ยง จึงอยากฟังความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ตัดสินลงทุนในคริปโต หรือนักลงทุนที่มีการลงทุนในคริปโตแล้ว ว่ามีหลักคิดอย่างไรในการตัดสินใจลงทุนในคริปโต เมื่อเทียบกับการเลือกลงทุนในสินทรัพย์การลงทุนแบบปกติครับ
-
RE: ถ้ามีบัตรเครดิตหลายใบควรบริหารจัดการยังไงให้ได้ประโยชน์มากที่สุดคะ และจ่ายบัตรขั้นต่ำทำให้มีประวัติเสียไหมคะ
@FernRenuka16 หากมีหลายใบ จนเริ่มสับสน อาจพิจารณาลดให้เหลือเฉพาะที่ได้มีโอกาสใช้จริงๆ โดยเลือกใช้บัตรที่เหมาะสมกับเรา
หากยังไม่แน่ใจว่าใบไหน อาจลองประเมินว่าเรามักใช้ซื้อสินค้าหรือหรือบริการใด ใช้เพื่อรับส่วนลด หรือสะสมแต้มไว้แลกส่วนลดหรือของแถม โดยปัจจุบันมีบัตรดครดิตที่มีสิทธิประโยชน์หลากหลาย จากหลายผู้ให้บริการครับ
ส่วนคำถามที่ว่าจ่ายขั้นต่ำทำให้ประวัติเสียไหม เท่าที่ผมทราบ โดยทั่วไปคือ ไม่ทำให้ประวัติเสียนะครับ เพราะมีการใช้จ่ายและชำระอย่างสม่ำเสมอ และอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ผู้ให้บริการกำหนด ส่วนจะเสียประวัติก็จะเป็นกรณีที่จ่ายช้าเกินกำหนด หรือค้างชำระเป็นเวลานาน แบบนี้ก็จะมีผลต่อประวัติการใช้จ่ายและชำระ แต่อย่างไรก็เช็คเงื่อนในแต่ละที่อีกครั้งครับ
-
เงินประกันสังคม
ขอสอบถามครับ เราสามารถทำเรื่องเพื่อนำเงินของเราที่สะสมไว้ในกองทุนประกันสังคมออกมาใช้ในยามฉุกเฉินได้ไหมครับ
-
RE: มี IC แล้ว อยากเป็น CFP ด้วย ควร waive ไปสอบเลย หรือควรเรียน CFP M2 ดี ?
@T_Anonymous ขอแชร์ความคิดเห็นของผมนะครับ ผมสนับสนุนให้อบรม M2 ครับ โดยส่วนตัวผมเอง ก็มี IC ที่สามารถ waive M2 ได้
แต่คิดว่าแม้ตนเองจะสามารถ waive ได้ แต่เมื่อดูเนื้อหาของ CFP M2 คิดว่าจะต้องใช้เวลาและความเข้าใจอย่างมากในการอ่านเนื้อหา M2 เพื่อเตรียมสอบดังนั้น จึงตัดสินใจอบรม M2 โดยไม่ waive โดยผมมีความคิดขณะนั้นว่า เสมือนหนึ่งว่าตนเองได้ลงติวเนื้อหาก่อนสอบ เมื่อคิดเช่นนี้ ก็ไม่ลังเลในการลงทะเบียนอบรมเลยครับ
-
RE: IC vs IP
@curious IC จะเป็นผู้แนะนำการลงทุนเบื้องต้นให้ลูกค้า โดยการให้คำแนะนำผลิตภัณฑ์การลงทุนจะสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของลูกค้า
แต่ IP การทำงานภาพรวมจะเหมือนกับ IC แต่จะครอบคลุมกว่า IC ในมุมที่จะสามารถขยายขอบเขตการทำงานไปจนถึงการจัดทำแผนการลงทุน ขยายความก็คือ IP จะเป็นผู้ที่ให้คำแนะนำการลงทุนแก่นักลงทุน และสามารถวางแผนประกอบการให้คำแนะนำการลงทุนแก่นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงได้
โดยการให้คำแนะนำจะสอดคล้องกับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และควรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การลงทุนของลูกค้าแต่ละรายด้วย ซึ่งการให้คำแนะนำนี้ก็อาจจะต้องมีการใช้ข้อมูลในเชิงลึกของลูกค้า เพื่อนำมาวิเคราะห์และออกแบบแผนการลงทุนให้เหมาะสมกับลูกค้าได้นั่นเองครับ -
RE: สัดส่วนการบริหารควรเป็นแบบไหน
@cecilice ขอเสริมข้อมูลนะครับ เห็นด้วยกับอาจารย์ทั้งสองท่านที่ให้แนวคิดการแบ่งเงินออมไว้ก่อนใช้ โดยกำหนดเป็นเปอร์เซนต์ เช่น 10% หรือ 25% ของรายได้
แต่ในบางสถานการณ์สำหรับบุคคลทั่วไป การออมตามสัดส่วนเป็น % ที่กำหนดไว้ อาจจะเป็นเงินที่เยอะ(สำหรับคนที่ยังไม่เคยเริ่มออมเลย) หากต้องอดทนเพื่อออมให้ได้ตามสัดส่วนที่กำหนด อาจทำให้ผู้ออมท้อ และล้มเลิกความตั้งใจในการออมไปได้ ท่ามกลางภาวะหนี้สินและรายได้ที่ไม่เป็นใจ ประกอบกับรายจ่ายที่อาจจะเพิ่มขึ้น เรียกง่ายๆว่าสภาพคล่องทางการเงินยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ
ดังนั้น ในช่วงแรกที่เรากำลังจะปรับเปลี่ยนให้ตัวเรามีพฤติกรรมการออมที่ดีขึ้น อาจเริ่มด้วยการแบ่งเงินออมไว้ ด้วยแนวคิดที่ว่า ออมไว้เท่าไรก็ได้ ขอให้มีการแบ่งไว้ออม ก็ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี แม้จะวันละ 5 บาท 10 บาท หรือเดือนละ 300 บาท เมื่อเวลาผ่านไป เงินออมที่ค่อยๆทะยอยออมและสะสมนี้ก็จะเริ่มมีมากขึ้น เมื่อสภาพคล่องทางการเงินดีขึ้น ประกอบกับความมีวินัยการออมที่ดีขึ้น จึงค่อยเพิ่มสัดส่วนการออมให้เป็นตามเกณฑ์ หรือมากกว่าเกณฑ์ได้
จึงอยากแชร์แนวคิดสำหรับคนที่อาจจะยังกลัวหรือกังวลกับการออม และมักคิดว่าตนเองจะทำไม่ได้ เพื่อให้เปิดใจและเริ่มต้นการออมได้ครับ -
เพิ่มสินทรัพย์การลงทุน
อยากให้มีช่องทางการสอบถามสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุนทางเลือกอื่นๆ เช่น ทองคำ อสังหาริมทรัพย์ น้ำมัน บิตคอยน์หรือ digital asset อื่นๆเพื่อความรู้เพิ่มเติมครับ
-
วิธีในการบริหารความเสี่ยง
หากยังกังวลและไม่มั่นใจกับการเริ่มต้นวางแผนการเงินและการลงทุน เราจะมีวิธีในการบริหารความเสี่ยงมาช่วยอย่างไรได้บ้างครับ
-
ไม่มีวุฒิ ป.ตรี แต่อยากเป็นผู้แนะนำการลงทุนได้ไหม
ไม่มีวุฒิ ป.ตรี แต่อยากเป็นผู้แนะนำการลงทุนได้ไหม